ทฤษฎีกำหนดรูปแบบใหม่ มีสามองค์ประกอบ แทนที่จะมีสององค์ประกอบดังทฤษฎีของเฮอร์ซเบิร์ก ด้วยการเพิ่มองค์ประกอบที่สามเข ้าไป ได้แก่ ambient หมายถึงสิ่งแวดล้อม ambient นี้มีส่วนประกอบที่กล่าวถึงบ่อย ๆ ได้แก่สิ่งที่ทำให้พึงพอใจและสิ ่งที่ทำให้ไม่พึงพอใจ สิ่งกระตุ้นในฐานะกลุ่มที่ตอบสน องต่อความพึงพอใจในการทำงานมากก ว่าความไม่พึงพอใจต่อการทำงาน อย่างไรก็ตามการขาดแคลนตัวกระตุ้นในฐานนะกลุ่มที่ตอบสนองต่อ ความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าคว ามไม่พึงพอใจต่อการทำงาน อย่างไรก็ตามการขาด แคลนตัวกระตุ้นก็อาจเป็นบ่อเกิด แห่งความไม่พึงพอใจก็ได้ องค์ประกอบของ ambient นั้นมีอยู่ 5 ประการด้วยกัน ได้แก่เงินเดือน โอกาสที่จะได้เจริญงอกงาม โอกาสที่จะเสี่ยง ความสัมพันธ์ที่มีต่อผู้บังคับบ ัญชา และสถานภาพ ( ฮอยและมิสเกล, 1978 : 108-109 )
ทฤษฎีบรรยากาศ อลัน บราวน์ ได้เสนอกลยุทธ์สองประการสำหรับเปลี่ยนแปลงบรรยากาศของโรงเรียน ประการแรกได้แก่กลยุทธ์ด้านคลิน ิก ประการที่สอง ได้แก่กลยุทธ์ที่มุ่งความเจริญง อกงามเป็นศูนย์กลาง ทั้งสองกลยุทธ์นี้ต่างก็ไม่ได้เ ป็นตัวเลือกแก่กันและกัน แต่สามารถใช้ด้วยกัน โดยเรียงตามลำดับ และทั้งสองกลยุทธ์ต่างก็จำเป็นต ่อการเปลี่ยนแปลง กลยุทะด้านคลินิกนั้นเน้นที่ธรร มชาติของความสัมพันธ์ระหว่างกลุ ่มย่อยในโรงเรียนในขณะที่กลุ่มม ุ่งความเจริญงอกงามเป็นศูนย์กลา งนั้นเน้นที่การพัฒนาของเอกัตบุ คคล
กลยุทธ์คลินิกนั้น ประการแรก มุ่งดูที่ความรู้ขององค์การต่อจากนั้นก็วิเคราะห์บรรยากาศขององ ค์การ ต่อจากนั้นก็วิเคราะห์บรรยากาศข ององค์การ กำหนดลำดับขั้นความสำคัญของการป ฏิบัติการ และวางแผนดำเนินการ เมื่อปฏิบัติสำเร็จแล้ว ก็มีการประเมินผลการปฏิบัติงานน ั้น
สำหรับกลยุทธ์มุ่งความเจริญงอกงามเป็นศูนย์กลาง นั้นมองว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็นสำ หรับโรงเรียน การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็นสำ หรับโรงเรียน การเปลี่ยนแปลงนั้นต้องมีทิศทาง แน่ชัด และควรจะนำไปสู่ความก้าวหน้า ครูอาจารย์มีศักยภาพสูงมากที่จะ พัฒนาและนำเอาความเปลี่ยนแปลงที ่เกิดขึ้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ( ฮอยและมิสเกล, 1978 : 165-167 )
ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ได้มีการวิจัยสอบถามอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 232 โรงในสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับการม ีส่วนร่วมในการตัดสินใจ แล้วผลที่ได้ปรากฏว่า อาจารย์ใหญ่มีความพึงพอใจที่ได้ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ อาจารย์ใหญ่ผู้ที่สามารถตัดสินใ จได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ปรากฏว่าเป็นผู้ที่เตรียมการมาด ี หาข้อมูล อยู่ระหว่างข้อเท็จจริง กับความคิดเห็นได้อย่างชัดเจน และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อย่างจริงใจด้วย สำหรับอาจารย์ใหญ่ผู้มีประสิทธิ ภาพด้อยกว่า ล้วนแต่เป็นผู้ที่ไม่ได้เตรียมก ารมาสำหรับการที่จะตัดสินใจนั้น เลย
สิ่งที่ค้นพบจากการวิจัยเรื่องการมีส่วนในการวินิจฉัยสั่งการมี ดังนี้
การมีโอกาสร่วมตัดสินใจทำให้ครูมีขวัญดี
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อความพึงพอใจ ต่อวิชาชีพ
ครู อาจารย์พึงพอใจอาจารย์ใหญ่ที่ส่งเสริมให้เขาเข้าร่วมตัดสินใจ
ครูอาจารย์มิได้คาดหวังจะเข้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเสียทุกเร ื่องไป เขาอยากเข้าร่วมตัดสินใจเฉพาะเร ื่องที่เกี่ยวข้องกับตัวเขา หรือผลประโยชน์ของเขาเท่านั้น
องค์ประกอบทั้งภายในและภายนอกมีผลกระทบต่อระดับของการมีส่วนร่ว มในการตัดสินใจ( ฮอยและมิสเกล, 1978: 228 )
ทฤษฎีอำนาจ และความขัดแย้งในสถาบันการศึกษาของวิคเตอร์ บอลด์ริดจ์ ทฤษฎีเน้นที่ตัวแบบทางการเมือง ( Political model ) เป็นส่วนสำคัญในการวิเคราะห์ด้า นสังคมวิทยาตั้งแต่สมัยของคาร์ล มาร์กซ์ เป็นต้นมานักทฤษฎีความขัดแย้งเน ้นที่การแยกส่วนของระบบสังคมออก เป็นกลุ่มผลประโยชน์ ซึ่งแต่ละกลุ่มต่างก็มีเป้าประส งค์ที่ต่างกันออกไป ศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผล ประโยชน์เหล่านี้ และแต่กลุ่มต่างก็พยายามที่จะได ้เปรียบอีกกลุ่มหนึ่งหรืออีกหลา ย ๆ กลุ่ม ( บอลด์ริดจ์ , 1971: 17 )
ทฤษฎีการบริหารการศึกษา (ที่มา : FB โคราช)ทฤษฎีกำหนดรูปแบบใหม่ แต่เดิม ได้แก่ Motivation, Hygiene แล้ว เติม Ambient เข้าไป Ambient คือ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ เงินเดือน โอกาสเจริญงอกงาม โอกาสเสี่ยงความสัมพันธ์ต่อเจ้านายและสถานภาพ
ทฤษฎีบรรยากาศ อลัน บราวน์ เสนอกลยุทธ์ 2 ประการ สำหรับการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศชองโรงเรียนประการแรก กลยุทธ์คลินิก ประการที่สอง มุ่งความเจริญงอกงามเป็นศูนย์กล างทั้งสองกลยุทธ์นี้ จะเป็นต่อการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์มุ่งความเจริญงอกงามการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น ครูงอกงาม นักเรียนก็งอกงามด้วย เกิดเป็นครูก็ต้องคิดชูศิษย์ด้ว ย
ทฤษฏีการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ครู ต้องการมีสีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
พวกแรก ต้องการมีอย่างมาก
พวกสอง มีพอดี ๆ สมกับความต้องการ
พวกที่สาม มีส่วนร่วมมากเกินไป ไม่ชอบ ไม่พอใจ เบื่อ ทำให้เสียเวลา เสียงานอื่น
ครูแทบทุกคนต้องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ผลดีจากการมีส่วนร่วมตัดสินใจ
ขวัญดี
มีความพึงพอใจต่อวิชาชีพ
พึงพอใจผู้บริหารโรงเรียน
ครู มิได้คาดหวังตัดสินใจทุกเรื่องไป
องค์ประกอบภายใน และภายนอก มีส่วนกระทบต่อการตัดสินใจ
--ทฤษฎีอำนาจและความขัดแย้งในถานศึกษา--
การเมืองในสถานศึกษา องค์กร
องค์กร มีมุ้งเล็กมุ้งใหญ่
มีพวกเขา พวกเรา
มีความคิดเห็นแตกต่าง และขัดแย้งกันเสมอ
ความขัดแย้ง เป็นสิ่งปกติ ไม่ต้องอาย
ต้องบริหารความขัดแย้ง อย่างสร้างสรรค์ มีฝีมือสูงในการบริหาร